YT-2000 (Otana) Paper Model

As a fan of Star Wars X-Wing Alliance game and a papercraft lover. I’ve been searching for years for a paper model of YT-2000, Otana, an iconic spaceship characterized in the X-Wing Alliance’s story. Which is very hard to find.

Read the rest of this entry »

วิธี Select Min ภายในบรรทัดเดียวกัน (T-SQL)

คนเขียน SQL น่าจะรู้จักวิธีการใช้ function Min เพื่อหาค่าน้อยที่สุดระหว่างบรรทัด (row) กันดีอยู่แล้ว
แต่บางครั้งเราอยากได้ความสามารถแบบนี้ แต่กระทำกับค่าจาก column ต่างๆ ใน row เดียวกัน ไม่ใช่ต่าง row
ประมาณว่าคำสั่ง Math.Min ในภาษา programming ทั่วไป แต่เราจะพบว่าคำสั่ง Min ของ SQL ไม่ได้ทำไว้เพื่อการนี้
Read the rest of this entry »

วิธีสร้างกูเกิลชี้ต (Google Sheet) แบบเปิดสาธารณะ

โพสนี้จะเขียนแบบเผื่อบุคคลทั่วไปเลยครับ ไม่ต้องรู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากก็ได้ ถ้าอยากแชร์เอกสารแบบ Excel บนอินเทอร์เน็ต สำหรับให้คนอื่นเข้ามาแก้ไขได้ เช่นเอาไว้รวบรวมรายชื่อ หรือทำแบบสำรวจง่ายๆ วิธีที่ง่ายที่สุดคือทำกูเกิลชี้ตแล้วเปิดให้แก้ไขได้แบบสาธารณะ
Read the rest of this entry »

เครื่องยนต์จรวดในเทรลเลอร์เกม KSP ภาคสอง

เมื่อไม่กี่วันก่อน Star Theory และ Private Division ได้ปล่อยคลิปเทรลเลอร์เกม Kerbal Space Program ภาคสองสู่สาธารณะ เรียกเสียงฮือฮาและสร้างความปลาบปลื้มแก่แฟนเกม KSP เป็นอย่างมาก นอกจากกราฟฟิกที่สวยสดและคอนเซปต์ความเป็น Kerbal อย่างเต็มเปี่ยมในเทรลเลอร์ภาคใหม่แล้ว อีกสิ่งที่น่าสนใจก็คือภาพของเครื่องยนต์จรวดชนิดใหม่ที่มีให้เห็นในเทรลเลอร์ซึ่งไม่เคยเห็นมาก่อนในภาคแรก Read the rest of this entry »

อัลกอริทึมของโกรเวอร์

อัลกอริทึมของลอฟ โกรเวอร์ (Lov Grover’s algorithm) เป็นควอนตัมอัลกอริทึมสำหรับการค้นหาข้อมูลที่ไม่ได้เรียงลำดับ(unsorted list) ซึ่งได้ชื่อว่าสามารถทำงานได้เร็วกว่าอัลกอริทึมแบบดั้งเดิมจาก O(N) เหลือเพียง O(√N) เป็นอัลกอริทึมที่แสดงจุดเด่นและข้อจำกัดของควอนตัมคอมพิวเตอร์ได้อย่างดี ตอนแรกผมก็สงสัยนะว่ามันเป็นไปได้อย่างไรที่จะค้นหาได้เร็วกว่า O(N). Superposition มันทำให้สามารถหยั่งรู้เหนือธรรมชาติขนาดนั้นเชียวหรือ แต่จริงๆ ถ้าได้เข้าใจกรอบเงื่อนไขมันก่อนก็จะพอเห็นว่ามันไม่ได้เหนือธรรมชาติขนาดนั้น
Read the rest of this entry »

ควอนตัมคอมพิวเตอร์เชิงโทโพโลยี

ขณะที่ผู้เล่นรายใหญ่อย่างเช่น IBM, Google, Intel ส่วนมากจะสร้างควอนตัมคอมพิวเตอร์โดยใช้สถานะควอนตัมของอนุภาคเป็นค่าของคิวบิต แต่ Microsoft กลับพยายามสร้างคิวบิตด้วยเทคนิคทาง topology ด้วยเหตุผลว่าถ้ามันสำเร็จมันจะมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพสูงกว่าควอนตัมคอมพิวเตอร์ที่เจ้าอื่นกำลังพยายามทำอยู่มาก ทำไมจึงเป็นอย่างนั้น แล้วควอนตัมคอมพิวเตอร์เชิงโทโพโลยีต่างกับของเจ้าอื่นยังไง มาดูกัน

Read the rest of this entry »

ฟังค์ชัน SQL ที่สามารถดึงข้อมูลจากบรรทัดก่อนหน้า

บางครั้งใน query เราต้องมีการคำนวณบางอย่างซึ่งทำกับข้อมูลระหว่างบรรทัด (row) วิธีแบบกำปั้นทุบดินก็คือ query ข้อมูลสองครั้งแล้ว join ให้มันเหลื่อมกัน ตามแต่ว่าเราต้องการเรียงลำดับข้อมูลด้วยอะไร แต่ SQL Server มีฟังค์ชันสำเร็จรูปให้เราทำงานได้ง่ายกว่านั้น
Read the rest of this entry »

ลองเล่น MS Flow + Face API ค้นหาภาพบุคคลจากสื่อโซเชียลอัตโนมัติ

วันนี้ไม่ได้เน้นการ code แต่เน้นการใช้บริการสำเร็จรูปมาประกอบกัน โจทย์ที่ตั้งไว้คือ ต้องการใช้ AI คอยตรวจสอบรูปภาพจากสื่อโซเชียล เช่น Twitter หากพบรูปของบุคคลที่ต้องการ ให้เก็บรูปนั้นไว้ใน cloud storage เช่น OneDrive
Read the rest of this entry »

เรื่องของควอนตัมแฮมิลโตเนียนและสถานะไอเกน

โพสนี้เกิดขึ้นเนื่องจาก ระหว่างที่กำลังเขียนเรื่อง Quantum Computer กับปัญหา Optimization แล้วมันต้องท้าวความถึง Hamiltonian และ Eigenstate ซึ่งคนที่ไม่คุ้นเคยกับฟิสิกส์นักอาจจะสงสัยว่ามันคืออะไร เลยเขียนอธิบายเพิ่ม เขียนไปเขียนมามันยาวออกนอกประเด็น เลยยกมาตั้งเป็นโพสใหม่เลยตามนี้
Read the rest of this entry »

ควอนตัมคอมพิวเตอร์กับปัญหา Combinatorial Optimization

มีความเชื่อว่าควอนตัมคอมพิวเตอร์ซึ่งมีคิวบิตที่สามารถอยู่ในสถานะ superposition คือเป็น 0 และ 1 ได้ในเวลาเดียวกัน จะสามารถทำตัวเป็น binary string จำนวน 2^n แบบพร้อมๆ กันและจะสามารถแก้ปัญหาประเภท combinatorial ได้ในพริบตา แต่ความเป็นจริงแม้แต่กับควอนตัมคอมพิวเตอร์เองมันก็ไม่ได้ง่ายขนาดนั้น เรื่องนี้ผมไปลองศึกษาดูแล้วว่ามันทำงานอย่างไร ทำได้ขนาดไหน จึงขอมาเขียนลงบล็อกเพื่อทบทวนให้ตัวเองและมาเล่าสู่กันฟัง ดังนี้
Read the rest of this entry »